รับจดทะเบียนบริษัท

จดทะเบียนบริษัท

จดทะเบียนท่องเที่ยวเชียงราย โทร : 094-493-1414

เชียงราย  เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือของประเทศไทย เป็นที่ตั้งของเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ตั้งแต่ยุคก่อตั้งอาณาจักรล้านนา เช่น เมืองเชียงแสน เมืองเชียงราย เมืองเชียงของ เมืองเธริงหรือเมืองเทิง[3] เชียงรายเดิมก่อน "ยุคเก็บผักใส่ซ้า เก็บข้าใส่เมือง" สมัยพระเจ้ากาวิละ ชนชาติที่เป็นต้นกำเนิดของคนเชียงรายดั้งเดิม (อาจรวมถึงคนในภาคเหนือทั้งหมด) ก่อนมีแคว้นโยนกซึ่งเป็นรัฐของชาวไทยวน หรือที่เรียกว่าคนเมือง กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะไดหรือผู้พูดตระกูลภาษาไท-กะได ก็คือชนชาติจีนแถบมณฑลยูนนานที่อพยพลงมาตั้งรกรากนั่นเอง ได้แตกเป็นกลุ่มหลายกลุ่มชนเผ่า จึงไม่แปลกที่คนเมืองจะมีพื้นฐานรากเหง้าเป็นคนจีนยูนนาน ปัจจุบันจังหวัดเชียงรายแบ่งการปกครองออกเป็น 18 อำเภอ มีแม่น้ำกก แม่น้ำอิง และแม่น้ำโขง เป็นแม่น้ำสายสำคัญ ทำเลที่ตั้งของจังหวัดเชียงรายอยู่บริเวณรอยต่อระหว่าง 3 ประเทศ คือ ประเทศไทย ประเทศลาว และประเทศพม่า หรือรู้จักกันในนามของดินแดนสามเหลี่ยมทองคำ ซึ่งอดีตเป็นแหล่งผลิตฝิ่นที่สำคัญของโลก ปัจจุบัน จังหวัดเชียงรายได้รับความสนใจในฐานะประตูสู่พม่า ลาว และจีนตอนใต้[4] ผ่านทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 3

เมืองเชียงรายมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เป็นที่ตั้งของหิรัญนครเงินยางเชียงแสน ซึ่งเป็นนครหลวงก่อนการกำเนิดอาณาจักรล้านนา มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในรูปแบบล้านนา ไทใหญ่ ไทเขิน และไทลื้อจากสิบสองปันนาผสมผสานกัน

  • ตราประจำจังหวัด : รูปช้างสีขาวใต้เมฆ หมายถึง นิมิตของความรุ่งเรืองในอดีต เพราะพญามังรายเคยใช้ช้างเป็นกำลังสำคัญในการทำศึกปราบศัตรูจนได้ชัยชนะ นอกจากนี้ ช้างยังเป็นชนวนให้พญามังรายมาก่อร่างสร้างเมืองนี้ขึ้นอีกด้วย โดยว่ากันว่า ช้างทรงของพญามังรายหลุดหายไปจากหลักที่ผูกไว้ พญามังรายติดตามไปจนถึงภูมิประเทศอันบริบูรณ์ริมน้ำกก จึงโปรดให้ตั้งเมืองเชียงรายขึ้น ณ ที่นั้น
  • ดอกไม้ประจำจังหวัด: ดอกพวงแสด (Pyrostegia venusta)
  • ต้นไม้ประจำจังหวัด: กาซะลองคำ (Radermachera ignea) โดยเป็นไม้ที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระราชทานให้เป็นไม้ประจำจังหวัดเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2537 เนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี

950x410_free-consultation

จดทะเบียนบริษัททัวร์ จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยว

หลักการจดทะเบียนบริษัททัวร์ ท่องเที่ยว หลังจากจดทะเบียนบริษัทเรียบร้อย โดยห้ามใส่คำว่า ทัวร์ /Travel ก่อนขอใบอนุญาติ ททท. 

กระทรวงพาณิชย์ โดยกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ออกระเบียบให้ห้างหุ้นส่วนและบริษัทจำกัดที่จะประกอบธุรกิจ "นำเที่ยว" ต้องได้รับอนุญาตจากกรมการท่องเที่ยวก่อน แล้วจึงนำหลักฐานมายื่นขอจดทะเบียนเพิ่มเติมวัตถุประสงค์ต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า หากไม่มีใบอนุญาตหมดสิทธิ์ประกอบธุรกิจบังคับใช้แล้ว 1 ก.ค. 58
นางสาวผ่องพรรณ เจียรวิริยะพันธ์ อธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิดเผยว่า สืบเนื่องจากแหล่งท่องเที่ยวหลายพื้นที่ของไทยมักประสบปัญหาชาวต่างชาติเข้ามาประกอบกิจการท่องเที่ยวแต่แอบอ้าง หรือใช้ชื่อคนไทยจดทะเบียนจัดตั้งธุรกิจ โดยมีการร้องเรียนผ่านหน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อให้เร่งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของการท่องเที่ยวไทยเป็นอย่างมาก กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จึงลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับกรมการท่องเที่ยว และ กรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2557 เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง โดยให้ความสำคัญตั้งแต่ขั้นตอนการเริ่มต้นธุรกิจ การอนุญาตให้ประกอบธุรกิจ และการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน เพื่อให้แต่ละหน่วยงานใช้เป็นฐานข้อมูลในการตรวจสอบ กำกับดูแล ตลอดจนสนับสนุนส่งเสริมพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยวของไทยให้มีความน่าเชื่อถือเข้มแข็งและยั่งยืน

"เพื่อให้เป็นไปตามข้อตกลงที่ทั้ง 3 หน่วยงานได้ร่วมกันกำหนดขึ้น กรมพัฒนาธุรกิจการค้าจึงกำหนดหลักเกณฑ์การจัดตั้งธุรกิจนำเที่ยวให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น เพื่อป้องปรามปัญหานอมินีและสกัดกั้นผู้ที่ไม่หวังดีในการประกอบธุรกิจนำเที่ยวของไทย โดยออกระเบียบสำนักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทกลางว่าด้วยการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนและบริษัท (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2558 ซึ่งกำหนดให้ผู้ประกอบธุรกิจที่ประสงค์จะจดทะเบียนจัดตั้ง "ธุรกิจนำเที่ยวต้องได้รับอนุญาตจากกรมการท่องเที่ยว” ก่อน โดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1) ผู้ประกอบธุรกิจยื่นขอจดทะเบียนจัดตั้งนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงค์ทั่วไปๆ ต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า 2) นำหนังสือรับรองนิติบุคคลที่กรมพัฒนาธุรกิจการค้าออกให้ไปยื่นขอความเห็นชอบประกอบธุรกิจนำเที่ยวจากกรมการท่องเที่ยว 3) นำหลักฐานใบอนุญาตจากกรมการท่องเที่ยวมายื่นจดทะเบียนเพิ่มวัตถุประสงค์ "นำเที่ยว” ต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า 4) ดำเนินธุรกิจนำเที่ยวได้ถูกต้องตามกฎหมาย”

อธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการค้ากล่าวเพิ่มเติมว่า เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังกล่าว กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จะร่วมกับกรมการท่องเที่ยว และ DSI ลงพื้นที่ตรวจสอบแหล่งท่องเที่ยวทั่วประเทศเป็นระยะ ๆ หากพบธุรกิจรายใดเข้าข่ายกระทำความผิดตามกฎหมายจะลงโทษอย่างเด็ดขาด เพื่อไม่ให้เป็นเยี่ยงอย่าง และขอแนะนำผู้ที่จะใช้บริการ หรือจำเป็นต้องติดต่อทำธุรกรรมกับธุรกิจนำเที่ยวทุกราย ควรตรวจสอบวัตถุประสงค์ของนิติบุคคลจากหนังสือรับรองที่กรมพัฒนาธุรกิจการค้าออกให้โดยตรวจสอบได้ 3 ช่องทาง 1) สายด่วน 1570 2) www.dbd.go.th (คลังข้อมูลธุรกิจ) และ3) ดาวน์โหลด Application ‘DBD e- Service’ และต้องตรวจสอบว่ามีใบอนุญาตการประกอบธุรกิจนำเที่ยวจากกรมการท่องเที่ยวหรือไม่ เพื่อป้องกันปัญหาทัวร์ต้มตุ๋น หลอกลวง

ขออนุญาติธุรกิจท่องเที่ยว ขออนุญาตธุรกิจทัวร์ จดทะเบียนบริษัททัวร์ จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยว รับจดทะเบียนบริษัทเชียงราย จดทะเบียนบริษัทเชียงราย รับจดทะเบียนบริษัทจังหวัดเชียงราย จดทะเบียนบริษัทจังหวัดเชียงราย จดทะเบียนห้างหุ้นส่วนเชียงราย รับทำบัญชีเชียงราย ทำบัญชีเชียงราย รับวางระบบบัญชีเชียงราย วางระบบบัญชีเชียงราย รับตรวจสอบบัญชีเชียงราย ตรวจสอบบัญชีเชียงรายจังหวัดเชียงราย อำเภอเมืองเชียงราย เวียงชัย เชียงของ เทิง พาน ป่าแดด แม่จัน เชียงแสน แม่สาย แม่สรวย เวียงป่าเป้า พญาเม็งราย เวียงแก่น ขุนตาล แม่ฟ้าหลวง แม่ลาว เวียงเชียงรุ้ง ดอยหลวง

โปรโมชั่น จดทะเบียนบริษัทกับเราวันนี้


โปรโมชั่น สำหรับลูกค้าจดทะเบียนใหม่

พิเศษ !!! สำหรับลูกค้าจดทะเบียนใหม่

ส่วนลดพิเศษ!! จัดทำเว็บไซต์จาก ปกติ 12,000 บาท เหลือเพียง 5,000 บาท
ฟรี !!! ระบบอีเมล์ภายใต้ชื่อโดเมนเนม


โปรโมชั่น ลูกค้าจดทะเบียนใหม่และทำบัญชี

พิเศษ !!! ลูกค้าจดทะเบียนใหม่และทำบัญชี

เว็บไซต์ ราคาพิเศษ 3,500 สำหรับบริษัทพร้อมแนะนำการทำตลาดออนไลน์
ฟรี ออกแบบโลโก้บรษัท
ฟรี รูปแบบใบส่งสินค้า ใบแจ้งหนี้ ใบกำกับภาษี ใบเสร็จรับเงินและเอกสารสำคัญอื่นๆ
ฟรี ขึ้นทะเบียน ระบบ E-FILING เพื่อใช้นำส่งงบการเงินกับกระทรวงพาณิชย์
ฟรี จดทะเบียน ภ.อ.01 เพื่อใช้ยื่นภาษีผ่าระบบออนไลน์
ฟรี จัดเตรียมเอกสารขึ้นทะเบียน E-GP (ระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ)
ฟรี ที่ปรึกษาด้านการตลาดและบริหารธุรกิจ

การจดทะเบียนธุรกิจ ประเภทต่างๆ ต้องเลือกให้เหมาะสมกับกิจการที่เราจะทำ จำเป็นจะต้องพิจารณาให้ละเอียด เพื่อการเริ่มต้นที่ดี

คำถามที่พบบ่อย ?

ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด ร้านค้าจดทะเบียนบริษัทที่ไหน? จดบริษัทจะต้องใช้เอกสารอะไรบ้าง? จดบริษัทต้องใช้ผู้ก่อตั้งกี่คน? จดบริษัทต้องมีทุนจดทะเบียนเท่าไหร่? ภาษีมูลค่าเพิ่มคืออะไร บริษัทต้องเสียภาษีอะไรบ้าง? บริษัทจดคนเดียวได้ไหม? บริษัทสามารถใส่วัตถุประสงค์ได้กี่ข้อ? จะรับงานราชการต้องจดทะเบียนแบบไหน? บริษัทจะต้องขึ้นประกันสังคมหรือไม่? ต้องมีลูกจ้างกี่คนถึงจะขึ้นประกันสังคม? จะเริ่มทำบัญชียังไง? ลูกค้าให้จดเป็นนิติบุคคล จะจดแบบไหนดี? มีชาวต่างชาติถือหุ้นด้วยจะจดบริษัทได้ไหม? การตั้งชื่อบริษัทควรจะตั้งอย่างไร? ถ้าเปิดบริษัทแต่ยังไม่มีรายได้ต้องเสียค่าทำบัญชีไหม ต้องปิดงบการเงินหรือไม่? ถ้ามีชื่อในบริษัทอื่นแล้ว จะตั้งบริษัทใหม่ได้ไหม? ทำบิล ทำใบกำกับภาษี ไม่เป็น จะทำยังไง? กรรมการบริษัท คืออะไร มีหน้าที่อย่างไร? ผู้ถือหุ้น คืออะไร มีหน้าที่อย่างไร ? จะเปิดบัญชีกับธนาคาร ในนามบริษัทต้องทำอย่างไร? ที่ตั้งบริษัท ใช้บ้านที่ต่างจังหวัดได้หรือไม่?……..

โทรหาเรา เพื่อขอรับคำปรึกษา โทร : 083-622-5555

รับจดทะเบียนบริษัท

จดทะเบียนบริษัท

จดทะเบียนบริษัท รับจดทะเบียนบริษัท

ให้บริการด้านการจัดตั้งธุรกิจ รับจดทะเบียนบริษัททุกประเภท ทั่วไทย รับเป็นที่ปรึกษาด้านบัญชี ภาษี ตรวจสอบภายใน เขียนแผนธุรกิจ การตลาด สื่อโฆษณา การเงิน แรงงาน กฎหมาย ด้วยทีมงานที่มีประสบการณ์พร้อมด้วยบริการอย่างมีประสิทธิภาพ ราคาเป็นธรรมและซื่อสัตย์ตรงไปตรงมา


ประวัติศาสตร์

สมัยราชวงศ์มังราย
พงศาวดารโยนกว่า พญามังรายสร้างขึ้น ณ ที่ซึ่งเดิมเป็นเวียงไชยนารายณ์ เมื่อ พ.ศ. 1805 และครองราชสมบัติอยู่ ณ เมืองเชียงรายจนถึง พ.ศ. 1839 จึงไปสร้างเมืองเชียงใหม่ขึ้นในท้องที่ระหว่างดอยสุเทพกับแม่น้ำปิง และครองราชสมบัติอยู่ ณ เมืองเชียงใหม่จนถึง พ.ศ. 1860 ส่วนตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ระบุว่า พญามังรายทรงเสด็จตามช้างมาทางทิศตะวันออกแล้วเห็นชัยภูมิเหมาะแก่การสร้างเมืองริมฝั่งแม่น้ำกก จึงสร้างเป็นเวียงล้อมรอบดอยจอมทองไว้ในปี พ.ศ. 1805

สำหรับเมืองเชียงรายนั้น เมื่อพญามังรายย้ายไปครองราชสมบัติที่เมืองเชียงใหม่แล้ว พระราชโอรสคือ ขุนคราม หรืออีกชื่อหนึ่งว่าพญาไชยสงคราม ก็ได้ครองราชสมบัติสืบต่อมา นับแต่นั้นเมืองเชียงรายก็ขึ้นต่อเมืองเชียงใหม่

สมัยล้านนาภายใต้การปกครองของพม่า
ครั้นต่อมาเมื่อล้านนาตกไปอยู่ในปกครองของพม่า ในปี พ.ศ. 2101 พม่าได้ตั้งขุนนางปกครองเมืองเชียงรายเรื่อยมา หลังจากนั้น พ.ศ. 2317 เจ้ากาวิละแห่งลำปางได้สวามิภักดิ์ต่อกรุงเทพฯ ทำให้หัวเมืองล้านนาฝ่ายใต้ตกเป็นประเทศราชของสยาม ขณะที่เชียงรายและหัวเมืองล้านนาฝ่านเหนืออื่น ๆ ยังคงอยู่ใต้อำนาจพม่า ล้านนากลายเป็นพื้นที่แย่งชิงอำนาจระหว่างสยามกับพม่า ในช่วงเวลาดังกล่าวเมืองเชียงรายเริ่มร้างผู้คน ประชาชนอพยพหนีภัยสงครามไปอยู่เมืองอื่น บ้างก็ถูกกวาดต้อนลงไปทางใต้ พ.ศ. 2247 เมืองเชียงแสนฐานที่มั่นสุดท้ายของพม่า ถูกกองทัพเชียงใหม่ ลำปาง และน่าน ตีแตก เมืองเชียงรายจึงกลายสภาพเป็นเมืองร้างตามเมืองเชียงแสน

สมัยล้านนาภายใต้การปกครองของสยาม
ในปี พ.ศ. 2386 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชานุญาตให้เจ้าหลวงเชียงใหม่ฟื้นฟูเชียงรายขึ้นใหม่ ภายหลังเมืองเชียงรายได้เป็นส่วนหนึ่งของมณฑลพายัพ กระทั่งปี พ.ศ. 2453 ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงมีประกาศกระทรวงมหาดไทย ยกฐานะเมืองเชียงรายเป็นเมืองจัตวามณฑลพายัพ ในปี พ.ศ. 2453 เมืองเชียงแสน เมืองเชียงราย เมืองฝาง เวียงป่าเป้า เมืองพะเยา อำเภอแม่ใจ อำเภอดอกคำใต้ อำเภอแม่สรวย อำเภอเชียงคำ อำเภอเชียงของ ตั้งเป็นเมืองจัตวาเรียกว่าเมืองเชียงราย อยู่ในมณฑลพายัพ และจัดแบ่งการปกครองออกเป็น 10 อำเภอ คือ อำเภอเมืองเชียงราย อำเภอเมืองเชียงแสน อำเภอเมืองฝาง อำเภอเวียงป่าเป้า อำเภอเมืองพะเยา อำเภอแม่ใจ อำเภอดอกคำใต้ อำเภอแม่สรวย อำเภอเชียงคำ อำเภอเชียงของ เหมือนอย่างหัวเมืองชั้นในที่ขึ้นกับกรุงเทพมหานครทั้งปวง ภายหลังเมืองเชียงรายได้เปลี่ยนเป็นจังหวัดเชียงราย

การเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัด
ตั้งแต่มีการตั้งจังหวัดเชียงราย อาณาเขตของจังหวัดเชียงรายมีการเปลี่ยนแปลงมาเป็นลำดับ โดยมีการโอนพื้นที่บางส่วน ไปขึ้นกับจังหวัดข้างเคียง และโอนพื้นที่จังหวัดข้างเคียง เข้ามารวมกับจังหวัดเชียงราย รวมถึงการแบ่งพื้นที่บางส่วน ตั้งเป็นจังหวัดใหม่ ดังนี้

การโอนอำเภอเมืองฝาง ไปขึ้นกับจังหวัดเชียงใหม่ มีประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง โอนอำเภอเมืองฝาง จังหวัดเชียงรายไปขึ้นจังหวัดเชียงใหม่[8] ในปี พ.ศ. 2468 เนื่องจากความลำบากในการเดินทางติดต่อราชการ ปัจจุบันคือ อำเภอฝาง อำเภอแม่อาย และอำเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่

การโอนหมู่ 7 ตำบลป่าตึง อำเภอเชียงแสน ไปขึ้นกับจังหวัดเชียงใหม่ พระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัด พุทธศักราช 2479 ได้มีการโอนพื้นที่เหนือลำน้ำแม่งามในเขตตำบลป่าตึง อำเภอเชียงแสนในขณะนั้น (อำเภอแม่จันในปัจจุบัน)ไปขึ้นตำบลแม่อาย อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ปัจจุบันอยู่ในเขต ตำบลท่าตอน อำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่[9]

การโอนอำเภอปง จังหวัดน่าน มาขึ้นกับจังหวัดเชียงราย ตามพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัดน่าน จังหวัดเชียงราย และจังหวัดแพร่ พ.ศ. 2495 ได้มีการโอนอำเภอปง จังหวัดน่าน ยกเว้น ตำบลสวด (อำเภอบ้านหลวง ในปัจจุบัน) มาขึ้นกับจังหวัดเชียงราย (สีเขียว) และโอนตำบลสะเอียบ (สีส้ม) อำเภอปง ไปขึ้นกับอำเภอสอง จังหวัดแพร่[10]

การโอนหมู่บ้านหมู่ที่ 10 ตำบลควน อำเภอปง จังหวัดเชียงราย ไปขึ้นตำบลป่าคา อำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน และโอนตำบลยอด อำเภอปง จังหวัดเชียงราย ไปขึ้นอำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน

ตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 137 ซึ่งมีสถานะเทียบเท่าพระราชบัญญัติ แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติซึ่งออกตามความในมาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2495 กำหนดให้เปลี่ยนแปลงเขตจังหวัดเชียงรายและจังหวัดน่าน โดยโอนหมู่บ้านหมู่ที่ 10 ตำบลควน อำเภอปง จังหวัดเชียงราย ไปขึ้นตำบลป่าคา อำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน และโอนตำบลยอด อำเภอปง จังหวัดเชียงราย ไปขึ้นอำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน [11]

การแบ่งพื้นที่บางส่วนตั้งเป็นจังหวัดพะเยา เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2520 ได้แบ่งแยกพื้นที่บางส่วนทางตอนใต้ของจังหวัดจัดตั้งขึ้นเป็นจังหวัดพะเยา

การปกครองส่วนภูมิภาคแบ่งออกเป็นระดับอำเภอ จำนวน 18 อำเภอ ระดับตำบล จำนวน 124 ตำบล และระดับหมู่บ้าน จำนวน 1,751 หมู่บ้าน

อำเภอเมืองเชียงราย
อำเภอเวียงชัย
อำเภอเชียงของ
อำเภอเทิง
อำเภอพาน
อำเภอป่าแดด
อำเภอแม่จัน
อำเภอเชียงแสน
อำเภอแม่สาย
อำเภอแม่สรวย
อำเภอเวียงป่าเป้า
อำเภอพญาเม็งราย
อำเภอเวียงแก่น
อำเภอขุนตาล
อำเภอแม่ฟ้าหลวง
อำเภอแม่ลาว
อำเภอเวียงเชียงรุ้ง
อำเภอดอยหลวง

จดทะเบียนท่องเที่ยวภาคกลาง

จดทะเบียนท่องเที่ยวนครสวรรค์ : จดทะเบียนท่องเที่ยวอุทัยธานี : จดทะเบียนท่องเที่ยวอ่างทอง : จดทะเบียนท่องเที่ยวสระบุรี : จดทะเบียนท่องเที่ยวสุพรรณบุรี : จดทะเบียนท่องเที่ยวสุโขทัย : จดทะเบียนท่องเที่ยวสิงห์บุรี : จดทะเบียนท่องเที่ยวสมุทรสาคร : จดทะเบียนท่องเที่ยวสมุทรสงคราม : จดทะเบียนท่องเที่ยวสมุทรปราการ : จดทะเบียนท่องเที่ยวลพบุรี : จดทะเบียนท่องเที่ยวเพชรบูรณ์ : จดทะเบียนท่องเที่ยวพิษณุโลก : จดทะเบียนท่องเที่ยวพิจิตร : จดทะเบียนท่องเที่ยวพระนครศรีอยุธยา : จดทะเบียนท่องเที่ยวปทุมธานี : จดทะเบียนท่องเที่ยวนนทบุรี : จดทะเบียนท่องเที่ยวนครปฐม : จดทะเบียนท่องเที่ยวนครนายก : จดทะเบียนท่องเที่ยวชัยนาท : จดทะเบียนท่องเที่ยวกำแพงเพชร

จดทะเบียนท่องเที่ยวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

จดทะเบียนท่องเที่ยวอำนาจเจริญ : จดทะเบียนท่องเที่ยวอุบลราชธานี : จดทะเบียนท่องเที่ยวหนองบัวลำภู : จดทะเบียนท่องเที่ยวหนองคาย : จดทะเบียนท่องเที่ยวศรีสะเกษ : จดทะเบียนท่องเที่ยวสุรินทร์ : จดทะเบียนท่องเที่ยวสกลนคร : จดทะเบียนท่องเที่ยวเลย : จดทะเบียนท่องเที่ยวร้อยเอ็ด : จดทะเบียนท่องเที่ยวยโสธร : จดทะเบียนท่องเที่ยวมุกดาหาร : จดทะเบียนท่องเที่ยวมหาสารคาม : จดทะเบียนท่องเที่ยวบุรีรัมย์ : จดทะเบียนท่องเที่ยวบึงกาฬ : จดทะเบียนท่องเที่ยวนครราชสีมา : จดทะเบียนท่องเที่ยวนครพนม : จดทะเบียนท่องเที่ยวชัยภูมิ : จดทะเบียนท่องเที่ยวขอนแก่น : จดทะเบียนท่องเที่ยวกาฬสินธุ์ : จดทะเบียนท่องเที่ยวอุดรธานี

จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยว 50 เขต ในกรุงเทพฯ

จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางบอน : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวทุ่งครุ : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวทวีวัฒนา : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางนา : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวคลองสามวา : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยววังทองหลาง : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวสะพานสูง : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวคันนายาว : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวสายไหม : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวหลักสี่ : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางแค : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยววัฒนา : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวลาดพร้าว : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวราชเทวี : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวดอนเมือง : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวจอมทอง : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวสวนหลวง : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวคลองเตย : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวประเวศ : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางคอแหลม : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวจตุจักร : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางซื่อ : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวสาทร : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบึงกุ่ม : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวดินแดง : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางพลัด : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวราษฎร์บูรณะ : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวหนองแขม : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวภาษีเจริญ : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางขุนเทียน : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางกอกน้อย : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวตลิ่งชัน : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวคลองสาน : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวห้วยขวาง : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางกอกใหญ่ : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวธนบุรี : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวพญาไท : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวสัมพันธวงศ์ : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวยานนาวา : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวลาดกระบัง : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวมีนบุรี : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวพระโขนง : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวป้อมปราบศัตรูพ่าย : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวปทุมวัน : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางกะปิ : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางเขน : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางรัก : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวหนองจอก : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวดุสิต : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวพระนคร

จดทะเบียนท่องเที่ยวเชียงราย
Tagged on: