ติดต่อจดทะเบียนบริษัท

จดทะเบียนบริษัท รับจดทะเบียนบริษัท

ให้บริการ ด้านการจัดตั้งธุรกิจ รับจดทะเบียนบริษัททุกประเภท รับเป็นที่ปรึกษาด้านบัญชี ภาษี ตรวจสอบภายใน ด้วยทีมงานที่มีประสบการณ์พร้อมด้วยบริการอย่างมีประสิทธิภาพ ราคาเป็นธรรมและซื่อสัตย์ตรงไปตรงมา

รัฐปาเลสไตน์ (อาหรับ: دولة فلسطين‎ Dawlat Filasṭin‎) เป็นรัฐที่ประกาศเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 1988 โดยสภาแห่งชาติขององค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ที่พลัดถิ่นในกรุงแอลเจียร์ ซึ่งเห็นชอบคำประกาศอิสรภาพปาเลสไตน์ฝ่ายเดียว รัฐปาเลสไตน์อ้างสิทธิ์เหนือดินแดนปาเลสไตน์ ซึ่งนิยามตามพรมแดนเมื่อปี 1967[9] และกำหนดเยรูซาเล็มเป็นเมืองหลวง พื้นที่ที่พรรณนาว่าจะประกอบเป็นรัฐปาเลสไตน์นั้นถูกอิสรเอลยึดครองตั้งแต่ปี 1967 จดทะเบียนบริษัทปาเลสไตน์

การประชุดสุดยอดสันนิบาตอาหรับปี 1974 กำหนดให้องค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์เป็น "ผู้แทนชาวปาเลสไตน์โดยชอบด้วยกฎหมายแต่ผู้เดียว" และยืนยันอีกครั้งถึง "สิทธิของพวกเขาในการสถาปนารัฐที่มีเอกราชอย่างเร่งด่วน"[10] องค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ได้รับสถานะผู้สังเกตการณ์ในสหประชาชาติเป็น "องค์การมิใช่รัฐ" (non-state entity) ตั้งแต่วันที่ 22 พฤศจิกายน 1974[11][12] ซึ่งให้สิทธิพูดในสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติได้ แต่ไม่มีสิทธิออกเสียง หลังคำประกาศอิสรภาพ สมัชชาใหญ่สหประชาชาติ "รับรอง" คำประกาศดังกล่าวอย่างเป็นทางการ และออกเสียงให้ใช้ชื่อ "ปาเลสไตน์" แทน "องค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์" เมื่อเอ่ยถึงผู้สังเกตการณ์ถาวรปาเลสไตน์[13][14] แม้จะมีคำวินิจฉัยนี้ องค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ก็มิได้เข้าร่วมสหประชาชาติในขีดความสามารถที่เป็นรัฐบาลของรัฐปาเลสไตน์[15] วันที่ 29 พฤศจิกายน 2012 สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติผ่านข้อมติที่ 67/19 ยกระดับปาเลสไตน์จาก "องค์การผู้สังเกตการณ์" (observer entity) เป็น "รัฐผู้สังเกตการณ์ที่มิใช่สมาชิก" ในระบบสหประชาชาติ ซึ่งถือเป็นการรับรองอธิปไตยขององค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์โดยปริยาย[16][17][18]

ในข้อตกลงกรุงออสโลปี 1993 อิสราเอลรับรองคณะผู้เจรจาขององค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ว่า "เป็นผู้แทนของชาวปาเลสไตน์" ตอบแทนการที่องค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์รับรองสิทธิของอิสราเอลที่จะดำรงอยู่อย่างสันติ การยอมรับข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 242 และ 338 และปฏิเสธ "ความรุนแรงและการก่อการร้าย"[19] ผลคือ ในปี 1994 องค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์สถาปนาการปกครองดินแดน ซึ่งบริหารหน้าที่รัฐบาลบ้างในบางส่วนของเวสต์แบงก์และฉนวนกาซา[20][21]

ในปี 2007 การยึดฉนวนกาซาโดยฮะมาส แบ่งชาวปาเลสไตน์ทั้งทางการเมืองและดินแดน โดยฟะตะห์ของมาห์มูด อับบาสยังปกครองเวสต์แบงก์ส่วนใหญ่และนานาประเทศรับรองว่าเป็นองค์การบริหารปาเลสไตน์[22] ขณะที่ฮะมาสรักษาการควบคุมฉนวนกาซาไว้ ในเดือนเมษายน 2011 พรรคการเมืองปาเลสไตน์ลงนามความตกลงปรองดอง แต่การนำไปปฏิบัติหยุดไปนับแต่นั้น

จนถึงเดือนกันยายน 2015 มีรัฐสมาชิกสหประชาชาติ 136 รัฐ จาก 193 รัฐ (70.5%) ให้การรับรองรัฐปาเลสไตน์ กระนั้นหลายประเทศที่มิได้รับรองรัฐปาเลสไตน์ก็รับรององค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์เป็น "ผู้แทนของชาวปาเลสไตน์" ยิ่งไปกว่านั้น คณะกรรมการบริหารขององค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ได้รับอำนาจจากสภาแห่งชาติปาเลสไตน์ให้ดำเนินหน้าที่รัฐบาลในรัฐปาเลสไตน์

อาณาเขต
ส่วนหนึ่งของดินแดนนี้ที่อยู่ทางตะวันตกของแม่น้ำจอร์แดน เคยถูกเรียกว่า "ดินแดนคะนาอัน" (Canaan) ในช่วงที่อยู่ใต้การปกครองของอียิปต์ ในภายหลังได้แบ่งการปกครองออกเป็นสองส่วน ส่วนทางใต้กลายเป็นราชอาณาจักรยูดาห์ ส่วนทางเหนือคือราชอาณาจักรอิสราเอล

สงครามในปาเลสไตน์ 1947-1948
ในปี ค.ศ. 1947 สมัชชาสหประชาชาติ ลงมติแบ่งดินแดนปาเลสไตน์ให้กับชาวยิว โดยแบ่งเอาดินแดนบางส่วนของซีเรียและอียิปต์ไปด้วย และให้กรุงเยรูซาเลมอยู่ภายใต้การควบคุมระหว่างประเทศ ซึ่งมติดังกล่าวไม่ได้ขอความเห็นชอบจากชาวปาเลสไตน์เลยแม้แต่น้อย

ในปี ค.ศ. 1948 มีการจัดตั้งรัฐยิวขึ้นอย่างเป็นทางการบนแผ่นดินปาเลสไตน์โดยมี เดวิด เบนกูเรียน (David Bengurion) เป็นผู้นำคนแรก โดยตั้งชื่อว่า รัฐอิสราเอล นับแต่นั้นมา อิสราเอลก็เริ่มปรากฏในแผนที่โลกในฐานะประเทศ ทั้งที่ก่อนหน้านี้พวกเขาไม่มีแผ่นดินครอบครอง รัฐอิสราเอลถูกสร้างขึ้น เพื่อเป็นยามเฝ้าน้ำมันในตะวันออกกลางของอังกฤษ ฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา[ต้องการอ้างอิง] อิสราเอลเป็นเสมือนพันธมิตรของตะวันตกเพื่อสกัดกั้นและต่อต้านกระแสชาตินิยมอาหรับที่ต้องการควบคุมน้ำมันเพื่อประโยชน์ของกลุ่มประเทศอาหรับเอง แทนประโยชน์ของบริษัทข้ามชาติตะวันตก รัฐอิสราเอลเป็นรัฐเหยียดเชื้อชาติเพราะเป็นรัฐที่กีดกันคนที่ไม่ใช่ชาวยิว[ต้องการอ้างอิง] และที่สำคัญคือถูกสร้างขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ผ่านการขับไล่ชาวปาเลสไตน์ออกจากบ้านเกิดด้วยความรุนแรงโหดร้ายทารุณ[ต้องการอ้างอิง] บ่อยครั้งมีการเข้าไปในหมู่บ้านเพื่อฆ่าชายหญิงและเด็ก ซึ่งเป็นวิธีสร้างความหวาดกลัวให้กับชาวปาเลสไตน์ โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะทำให้ชาวปาเลสไตน์หมดกำลังใจในการต่อสู้ และหลบหนีออกจากพื้นที่จนกลายเป็นผู้ลี้ภัยถาวรในค่ายรอบๆ อิสราเอล

สงครามอาหรับ–อิสราเอล 1948
ในวันที่ 15 พฤษภาคม 1948 กองทัพซีเรีย ทรานส์จอร์แดน อิรัก เลบานอน และอียิปต์ ก็ข้ามพรมแดนปาเลสไตน์เข้าตะลุมบอนกับกองทัพอิสราเอล ซึ่งมีอายุได้เพียงวันเดียว ตามทางการแล้วสงครามกระทำกันในเวลา 8 เดือน คือ ตั้งแต่วันที่ 15 พฤษภาคม 1948 จนถึงวันที่ 7 มกราคม 1949 การหย่าศึกครั้งที่หนึ่ง วันที่ 11 มิถุนายน 1948 เมื่อสหประชาชาติ (เคานต์ โฟล์ก แบร์ นาดอตต์ ตัวแทน) ให้มีการหยุดยิงเป็นเวลา 1 เดือน ในระหว่างการหยุดยิงทั้งสองฝ่ายถูกห้ามมิให้นำอาวุธเข้ามา และฝ่ายไกล่เกลี่ยสหประชาชาตินำทหารเข้าไปเพื่อควบคุมฝ่ายที่เป็นศัตรูกัน ความจริงทั้งฝ่ายอาหรับและยิวใช้เวลาหยุดยิง 4 สัปดาห์ เตรียมจัดหน่วยและเสริมกำลังทั้งด้านกำลังพล ยุทธสัมภาระและวางกำลังใหม่ พอครบหนึ่งเดือน เริ่มขึ้นตอนเที่ยงคืนของวันที่ 11 กรกฎาคม กินเวลาเพียงสิบวันเท่านั้น การหยุดยิงครั้งที่สองเริ่มวันที่ 19 กรกฎาคม 1948 การหยุดยิงครั้งที่สองมิได้กำหนดเวลาไว้ คาดว่าจะนำไปสู่การหยุดยิงตลอดไป โดยคาดว่ากรณีพิพาทจะตกลงกันได้โดยวิถีทางการทูต จากความช่วยเหลือของผู้ไกล่เลี่ยสหประชาชาติ คือ เคาน์ โฟล์ก แบร์ นาดอตต์ อย่างไรก็ตาม ความเป็นศัตรูกันเริ่มขึ้นอีกในวันที่ 10 ตุลาคม 1948 นับว่าเป็นขั้นสุดท้ายของสงครามนำด้วยเหตุการณ์ที่น่าเศร้า เมื่อวันที่ 17 กันยายน 1948 เคาน์ โฟล์ก แบร์ นาดอตต์ ถูกผู้ก่อการร้ายฆ่าตาย

การสู้รบสิ้นสุดลงในวันที่ 7 มกราคม1949 และในเดือนกุมภาพันธ์ อียิปต์ลงนามในข้อตกลงสงบศึกกับอิสราเอล, เดือนมีนาคม รัฐบาลอาหรับอื่น ๆ ทำตามอียิปต์ นอกจากรัฐบาลอิรัก และเลบานอน, เดือนเมษายน จอร์แดน และเดือนกรกฎาคม ซีเรีย อิรักเพียงแต่ถอนทหารออกจากปาเลสไตน์โดยไม่ลงนามในสัญญาหยุดยิง

หลังสงคราม
หลังสงครามอาหรับ-อิสราเอล ค.ศ. 1948 ได้มีข้อตกลงสงบศึกใน ค.ศ. 1949 กำหนดให้แบ่งดินแดนออกเป็น 3 ส่วน ให้กับอิสราเอล และชาติอาหรับในบริเวณนั้นอีก 2 ชาติ คือ อียิปต์และจอร์แดน

อิสราเอลได้เนื้อที่ไป 26% คือฝั่งตะวันตกของแม่น้ำจอร์แดน ส่วนจอร์แดนได้ไป 21% คือเวสต์แบงก์ โดยกรุงเยรูซาเลมถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนให้กับทั้งอิสราเอลและจอร์แดน ส่วนอียิปต์ได้บริเวณฉนวนกาซา เมื่อการแบ่งดินแดนกันเรียบร้อย ก็เกิดการอพยพของชาวยิวและชาวอาหรับเพื่อเข้าไปอาศัยอยู่ในเขตแดนของตน

สงครามหกวัน
ดูบทความหลักที่: สงครามหกวัน
หลังจากสงครามหกวัน ในปี ค.ศ. 1967 อิสราเอลได้ยึดดินแดนบางส่วนของอียิปต์และจอร์แดนได้

โปรโมชั่น จดทะเบียนบริษัทกับเราวันนี้


โปรโมชั่น สำหรับลูกค้าจดทะเบียนใหม่

พิเศษ !!! สำหรับลูกค้าจดทะเบียนใหม่

ส่วนลดพิเศษ!! จัดทำเว็บไซต์จาก ปกติ 12,000 บาท เหลือเพียง 3,500 บาท
ฟรี !!! ระบบอีเมล์ภายใต้ชื่อโดเมนเนม

 
 

โปรโมชั่น ลูกค้าจดทะเบียนใหม่และทำบัญชี

พิเศษ !!! ลูกค้าจดทะเบียนใหม่และทำบัญชี

ฟรี เว็บไซต์ สำหรับบริษัทพร้อมแนะนำการทำตลาดออนไลน์
ฟรี ออกแบบโลโก้บรษัท
ฟรี รูปแบบใบส่งสินค้า ใบแจ้งหนี้ ใบกำกับภาษี ใบเสร็จรับเงินและเอกสารสำคัญอื่นๆ
ฟรี ขึ้นทะเบียน ระบบ E-FILING เพื่อใช้นำส่งงบการเงินกับกระทรวงพาณิชย์
ฟรี จดทะเบียน ภ.อ.01 เพื่อใช้ยื่นภาษีผ่าระบบออนไลน์
ฟรี จัดเตรียมเอกสารขึ้นทะเบียน E-GP (ระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ)
ฟรี ที่ปรึกษาด้านการตลาดและบริหารธุรกิจ

การจดทะเบียนธุรกิจ ประเภทต่างๆ ต้องเลือกให้เหมาะสมกับกิจการที่เราจะทำ จำเป็นจะต้องพิจารณาให้ละเอียด เพื่อการเริ่มต้นที่ดี

คำถามที่พบบ่อย ?

ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด ร้านค้าจดทะเบียนบริษัทที่ไหน? จดบริษัทจะต้องใช้เอกสารอะไรบ้าง? จดบริษัทต้องใช้ผู้ก่อตั้งกี่คน? จดบริษัทต้องมีทุนจดทะเบียนเท่าไหร่? ภาษีมูลค่าเพิ่มคืออะไร บริษัทต้องเสียภาษีอะไรบ้าง? บริษัทจดคนเดียวได้ไหม? บริษัทสามารถใส่วัตถุประสงค์ได้กี่ข้อ? จะรับงานราชการต้องจดทะเบียนแบบไหน? บริษัทจะต้องขึ้นประกันสังคมหรือไม่? ต้องมีลูกจ้างกี่คนถึงจะขึ้นประกันสังคม? จะเริ่มทำบัญชียังไง? ลูกค้าให้จดเป็นนิติบุคคล จะจดแบบไหนดี? มีชาวต่างชาติถือหุ้นด้วยจะจดบริษัทได้ไหม? การตั้งชื่อบริษัทควรจะตั้งอย่างไร? ถ้าเปิดบริษัทแต่ยังไม่มีรายได้ต้องเสียค่าทำบัญชีไหม ต้องปิดงบการเงินหรือไม่? ถ้ามีชื่อในบริษัทอื่นแล้ว จะตั้งบริษัทใหม่ได้ไหม? ทำบิล ทำใบกำกับภาษี ไม่เป็น จะทำยังไง? กรรมการบริษัท คืออะไร มีหน้าที่อย่างไร? ผู้ถือหุ้น คืออะไร มีหน้าที่อย่างไร ? จะเปิดบัญชีกับธนาคาร ในนามบริษัทต้องทำอย่างไร? ที่ตั้งบริษัท ใช้บ้านที่ต่างจังหวัดได้หรือไม่?……..

โทรหาเรา เพื่อขอรับคำปรึกษา โทร : 083-622-5555

จดทะเบียนบริษัทปาเลสไตน์
Tagged on: