เขตบางพลัด เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางพลัด จดทะเบียนบริษัทเขตบางพลัด,รับจดทะเบียนบริษัทบางพลัด,จดห้างหุ้นส่วนจำกัดบางพลัด,รับจดห้างหุ้นส่วนจำกัด บางพลัด,ทะเบียนบริษัทย่านบางพลัด,ทะเบียนธุรกิจบางพลัด,รับตรวจบัญชีบางพลัด, จดทะเบียนบริษัทบางอ้อ,จดทะเบียนบริษัทบางบำหรุ, จดทะเบียนบริษัทบางญี่ขัน
รับตัดต้นไม้,รับเคลียร์พื้นที่,ปรับพื้นที่,รับตัดหญ้า,รับปูหญ้าจัดสวน,รับตัดต้นไทร,รับตัดต้นโพธิ์,บริการตัดต้นไม้และเก็บขนกิ่งไม้
อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ เดิมถือเป็นพื้นที่รอบนอก แต่ปัจจุบันมีความเจริญเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สภาพทั่วไปเป็นแหล่งการค้าและแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก แต่ก็มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมตั้งอยู่ด้วยเช่นกัน
จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางพลัด จดทะเบียนบริษัทเขตบางพลัด,รับจดทะเบียนบริษัทบางพลัด,จดห้างหุ้นส่วนจำกัดบางพลัด,รับจดห้างหุ้นส่วนจำกัด บางพลัด,ทะเบียนบริษัทย่านบางพลัด,ทะเบียนธุรกิจบางพลัด,รับตรวจบัญชีบางพลัด,จดทะเบียนบริษัทบางอ้อ,จดทะเบียนบริษัทบางบำหรุ,จดทะเบียนบริษัทบางญี่ขัน
ที่ตั้งและอาณาเขต
ตั้งอยู่ริมฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา (ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของฝั่งธนบุรี) มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอบางกรวย (จังหวัดนนทบุรี) มีทางรถไฟสายใต้เป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตบางซื่อ เขตดุสิต และเขตพระนคร มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศใต้ ติดต่อกับเขตบางกอกน้อย มีถนนสมเด็จพระปิ่นเกล้าเป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตบางกอกน้อยและเขตตลิ่งชัน มีถนนบรมราชชนนีและคลองบางกอกน้อยเป็นเส้นแบ่งเขต
ประวัติศาสตร์
เดิมเขตบางพลัดมีฐานะเป็นอำเภอชั้นในอำเภอหนึ่งของพระนคร มีชื่อว่า อำเภอบางพลัด ต่อมาถูกลดฐานะเป็น ตำบลบางพลัด ขึ้นอยู่กับอำเภอบางกอกน้อย จังหวัดธนบุรี ภายหลังได้มีการรวมจังหวัดธนบุรีกับจังหวัดพระนครเข้าด้วยกันเป็นจังหวัดนครหลวงกรุงเทพธนบุรี และเปลี่ยนเป็นกรุงเทพมหานครในปี พ.ศ. 2515 ตำบลบางพลัดจึงเปลี่ยนฐานะเป็น แขวงบางพลัด เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร
โดยชื่อ "บางพลัด" หมายถึง การพลัดหลง หรือหลงถิ่น เชื่อว่ามาจากเมื่อครั้งเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2310 แก่พม่า เมื่อผู้คนอพยพหนีลงมาสู่ที่นี่ ได้เกิดการพลัดหลงหรือหลงหายกัน เนื่องจากมีลำคลอง ลำประโดง และมีสวนแน่นขนัด ทำให้ผู้ที่เข้ามาในละแวกนี้มักจะเกิดการพลัดหลงเข้าออกไม่ถูกอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งนามเช่นนี้มีความหมายในเชิงไม่เป็นมงคลในความเชื่อ จึงมีแนวคิดที่จะเปลี่ยนเป็น "บางภัทร์" ใน พ.ศ. 2545 แต่ที่สุดก็ไม่ได้มีการเปลี่ยนแต่อย่างใด
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2528 ได้ทีการจัดตั้งที่ทำการแขวงบางพลัด โดยใช้อาคารเรียนของโรงเรียนวัดบางพลัด ซึ่งตั้งอยู่ที่ซอยจรัญสนิทวงศ์ 79 ถนนจรัญสนิทวงศ์ แขวงบางพลัด เขตบางกอกน้อยในขนะนั้น
ต่อมาในเดือนมกราคม พ.ศ. 2532 กรุงเทพมหานครได้จัดตั้งสำนักงานเขตบางกอกน้อย สาขาบางพลัด ขึ้นดูแลพื้นที่แขวงบางพลัด บางอ้อ บางบำหรุ และบางยี่ขัน ซึ่งต่อมาท้องที่ทั้ง 4 แขวงนี้ได้ยกฐานะขึ้นเป็น เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร ในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตบางกอกน้อยและจัดตั้งเขตบางพลัด
และเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2534 ได้มีประกาศของกระทรวงมหาดไทย เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตบางพลัด โดยตัดพื้นที่แขวงบางบำหรุและบางยี่ขัน เฉพาะส่วนที่อยู่ทางทิศใต้ของถนนบรมราชชนนีและถนนสมเด็จพระปิ่นเกล้า กลับไปเป็นพื้นที่ในการปกครองของเขตบางกอกน้อยอีกครั้ง
จดทะเบียนบริษัททัวร์ จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยว
หลักการจดทะเบียนบริษัททัวร์ ท่องเที่ยว หลังจากจดทะเบียนบริษัทเรียบร้อย โดยห้ามใส่คำว่า ทัวร์ /Travel ก่อนขอใบอนุญาติ ททท.
กระทรวงพาณิชย์ โดยกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ออกระเบียบให้ห้างหุ้นส่วนและบริษัทจำกัดที่จะประกอบธุรกิจ "นำเที่ยว" ต้องได้รับอนุญาตจากกรมการท่องเที่ยวก่อน แล้วจึงนำหลักฐานมายื่นขอจดทะเบียนเพิ่มเติมวัตถุประสงค์ต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า หากไม่มีใบอนุญาตหมดสิทธิ์ประกอบธุรกิจบังคับใช้แล้ว 1 ก.ค. 58
นางสาวผ่องพรรณ เจียรวิริยะพันธ์ อธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิดเผยว่า สืบเนื่องจากแหล่งท่องเที่ยวหลายพื้นที่ของไทยมักประสบปัญหาชาวต่างชาติเข้ามาประกอบกิจการท่องเที่ยวแต่แอบอ้าง หรือใช้ชื่อคนไทยจดทะเบียนจัดตั้งธุรกิจ โดยมีการร้องเรียนผ่านหน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อให้เร่งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของการท่องเที่ยวไทยเป็นอย่างมาก กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จึงลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับกรมการท่องเที่ยว และ กรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2557 เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง โดยให้ความสำคัญตั้งแต่ขั้นตอนการเริ่มต้นธุรกิจ การอนุญาตให้ประกอบธุรกิจ และการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน เพื่อให้แต่ละหน่วยงานใช้เป็นฐานข้อมูลในการตรวจสอบ กำกับดูแล ตลอดจนสนับสนุนส่งเสริมพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยวของไทยให้มีความน่าเชื่อถือเข้มแข็งและยั่งยืน
"เพื่อให้เป็นไปตามข้อตกลงที่ทั้ง 3 หน่วยงานได้ร่วมกันกำหนดขึ้น กรมพัฒนาธุรกิจการค้าจึงกำหนดหลักเกณฑ์การจัดตั้งธุรกิจนำเที่ยวให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น เพื่อป้องปรามปัญหานอมินีและสกัดกั้นผู้ที่ไม่หวังดีในการประกอบธุรกิจนำเที่ยวของไทย โดยออกระเบียบสำนักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทกลางว่าด้วยการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนและบริษัท (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2558 ซึ่งกำหนดให้ผู้ประกอบธุรกิจที่ประสงค์จะจดทะเบียนจัดตั้ง "ธุรกิจนำเที่ยวต้องได้รับอนุญาตจากกรมการท่องเที่ยว” ก่อน โดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1) ผู้ประกอบธุรกิจยื่นขอจดทะเบียนจัดตั้งนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงค์ทั่วไปๆ ต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า 2) นำหนังสือรับรองนิติบุคคลที่กรมพัฒนาธุรกิจการค้าออกให้ไปยื่นขอความเห็นชอบประกอบธุรกิจนำเที่ยวจากกรมการท่องเที่ยว 3) นำหลักฐานใบอนุญาตจากกรมการท่องเที่ยวมายื่นจดทะเบียนเพิ่มวัตถุประสงค์ "นำเที่ยว” ต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า 4) ดำเนินธุรกิจนำเที่ยวได้ถูกต้องตามกฎหมาย”
อธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการค้ากล่าวเพิ่มเติมว่า เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังกล่าว กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จะร่วมกับกรมการท่องเที่ยว และ DSI ลงพื้นที่ตรวจสอบแหล่งท่องเที่ยวทั่วประเทศเป็นระยะ ๆ หากพบธุรกิจรายใดเข้าข่ายกระทำความผิดตามกฎหมายจะลงโทษอย่างเด็ดขาด เพื่อไม่ให้เป็นเยี่ยงอย่าง และขอแนะนำผู้ที่จะใช้บริการ หรือจำเป็นต้องติดต่อทำธุรกรรมกับธุรกิจนำเที่ยวทุกราย ควรตรวจสอบวัตถุประสงค์ของนิติบุคคลจากหนังสือรับรองที่กรมพัฒนาธุรกิจการค้าออกให้โดยตรวจสอบได้ 3 ช่องทาง 1) สายด่วน 1570 2) www.dbd.go.th (คลังข้อมูลธุรกิจ) และ3) ดาวน์โหลด Application ‘DBD e- Service’ และต้องตรวจสอบว่ามีใบอนุญาตการประกอบธุรกิจนำเที่ยวจากกรมการท่องเที่ยวหรือไม่ เพื่อป้องกันปัญหาทัวร์ต้มตุ๋น หลอกลวง
โปรโมชั่น จดทะเบียนบริษัทกับเราวันนี้
โปรโมชั่น สำหรับลูกค้าจดทะเบียนใหม่
พิเศษ !!! สำหรับลูกค้าจดทะเบียนใหม่
ส่วนลดพิเศษ!! จัดทำเว็บไซต์จาก ปกติ 12,000 บาท เหลือเพียง 5,000 บาท
ฟรี !!! ระบบอีเมล์ภายใต้ชื่อโดเมนเนม
โปรโมชั่น ลูกค้าจดทะเบียนใหม่และทำบัญชี
พิเศษ !!! ลูกค้าจดทะเบียนใหม่และทำบัญชี
เว็บไซต์ ราคาพิเศษ 3,500 สำหรับบริษัทพร้อมแนะนำการทำตลาดออนไลน์
ฟรี ออกแบบโลโก้บรษัท
ฟรี รูปแบบใบส่งสินค้า ใบแจ้งหนี้ ใบกำกับภาษี ใบเสร็จรับเงินและเอกสารสำคัญอื่นๆ
ฟรี ขึ้นทะเบียน ระบบ E-FILING เพื่อใช้นำส่งงบการเงินกับกระทรวงพาณิชย์
ฟรี จดทะเบียน ภ.อ.01 เพื่อใช้ยื่นภาษีผ่าระบบออนไลน์
ฟรี จัดเตรียมเอกสารขึ้นทะเบียน E-GP (ระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ)
ฟรี ที่ปรึกษาด้านการตลาดและบริหารธุรกิจ
การจดทะเบียนธุรกิจ ประเภทต่างๆ ต้องเลือกให้เหมาะสมกับกิจการที่เราจะทำ จำเป็นจะต้องพิจารณาให้ละเอียด เพื่อการเริ่มต้นที่ดี
คำถามที่พบบ่อย ?
ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด ร้านค้าจดทะเบียนบริษัทที่ไหน? จดบริษัทจะต้องใช้เอกสารอะไรบ้าง? จดบริษัทต้องใช้ผู้ก่อตั้งกี่คน? จดบริษัทต้องมีทุนจดทะเบียนเท่าไหร่? ภาษีมูลค่าเพิ่มคืออะไร บริษัทต้องเสียภาษีอะไรบ้าง? บริษัทจดคนเดียวได้ไหม? บริษัทสามารถใส่วัตถุประสงค์ได้กี่ข้อ? จะรับงานราชการต้องจดทะเบียนแบบไหน? บริษัทจะต้องขึ้นประกันสังคมหรือไม่? ต้องมีลูกจ้างกี่คนถึงจะขึ้นประกันสังคม? จะเริ่มทำบัญชียังไง? ลูกค้าให้จดเป็นนิติบุคคล จะจดแบบไหนดี? มีชาวต่างชาติถือหุ้นด้วยจะจดบริษัทได้ไหม? การตั้งชื่อบริษัทควรจะตั้งอย่างไร? ถ้าเปิดบริษัทแต่ยังไม่มีรายได้ต้องเสียค่าทำบัญชีไหม ต้องปิดงบการเงินหรือไม่? ถ้ามีชื่อในบริษัทอื่นแล้ว จะตั้งบริษัทใหม่ได้ไหม? ทำบิล ทำใบกำกับภาษี ไม่เป็น จะทำยังไง? กรรมการบริษัท คืออะไร มีหน้าที่อย่างไร? ผู้ถือหุ้น คืออะไร มีหน้าที่อย่างไร ? จะเปิดบัญชีกับธนาคาร ในนามบริษัทต้องทำอย่างไร? ที่ตั้งบริษัท ใช้บ้านที่ต่างจังหวัดได้หรือไม่?……..
โทรหาเรา เพื่อขอรับคำปรึกษา โทร : 083-622-5555
ขั้นตอนการจดทะเบียนบริษัท
มาดูกันตั้งแต่เริ่มแรกการเปิดบริษัทใหม่ การจดทะเบียนบริษัทอาจจะไม่ใช่เรื่องยาก เพียงแต่มีเอกสารที่ต้องจัดทำค่อนข้างมาก และปัจจุบันทางกระทรวงพาณิชย์ได้ปรับเปลี่ยนให้การจดทะเบียนหนังสือบริคณห์สนธิและจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทสามารถจดในวันเดียวกันได้ ทำให้ระยะเวลาที่ใช้สั้นลง นอกจากนี้ยังลดจำนวนผู้เริ่มก่อการจาก 7 คนลดเหลือ 3 คน แต่ทั้งนี้จะเห็นได้ว่าเรื่องเอกสารที่ต้องจัดทำยังเหมือนเดิมทุกอย่าง
1. ผู้ก่อการยื่นขอตรวจและจองชื่อบริษัท ด้วยแบบจองชื่อนิติบุคคล( จำหน่ายที่กรมทะเบียนการค้าราคาแผ่นละ 5 บาท) เพื่อตรวจสอบว่าชื่อที่จะใช้นั้นจะเหมือนหรืคล้ายกับชื่อที่คนอื่นได้จดทะเบียนไว้ก่อนหรือไม่ โดยยื่นแบบจองชื่อดังกล่าวแก่นายทะเบียนผู้ตรวจสอบชื่อ และปัจจุบันสามารถจองชื่อผ่านทางอินเตอร์เนตทางเว็บไซต์ http://www.chonlatee.com ซึ่งจะทราบผลในวันถัดไปโดยจะแจ้งผลการจองชื่อผ่านทาง e-mail ของผู้จองชื่อนั้น เมื่อจองชื่อได้แล้วจะต้องขอจดทะเบียนหนังสือบริคณห์สนธิภายใน 30 วัน
2. เมื่อได้ชื่อแล้ว บุคคลซึ่งเป็นผู้ก่อการตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป เข้าชื่อกันจัดทำคำขอจดทะเบียนหนังสือบริคณห์สนธิ์และเอกสารประกอบแล้วนำไปจดทะเบียน
3. เมื่อได้จดทะเบียนหนังสือบริคณห์สนธิแล้ว ผู้ก่อการต้องจัดให้หุ้นของบริษัทที่คิดจะจัดตั้งขึ้นนั้น มีผู้เข้าชื่อจองซื้อหุ้นจนครบ
4. ดำเนินการประชุมจัดตั้งบริษัท โดยต้องส่งคำบอกกล่าวนัดประชุมให้ผู้จองหุ้นทราบล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน ก่อนวันประชุม
5. เมื่อได้ประชุมตั้งบริษัท และที่ประชุมได้แต่งตั้งกรรมการบริษัทแล้ว ผู้เริ่มก่อการต้องมอบหมายกิจการให้กรรมการบริษัทรับไปดำเนินการต่อไป
6. กรรมการบริษัทจัดการเรียกให้ผู้เริ่มก่อการและผู้ขอจองหุ้น ชำระค่าหุ้นอย่างน้อยร้อยละ 25 ของมูลค่าหุ้น
7. เมื่อได้รับเงินค่าหุ้นแล้ว กรรมการต้องจัดทำคำขอจดทะเบียนตั้งบริษัทและเอกสารประกอบ นำไปจดทะเบียนเป็นบริษัทภายใน 3 เดือน หลังจากการประชุมตั้งบริษัท
จดทะเบียนบริษัท รับจดทะเบียนบริษัท
ให้บริการด้านการจัดตั้งธุรกิจ รับจดทะเบียนบริษัททุกประเภท ทั่วไทย รับเป็นที่ปรึกษาด้านบัญชี ภาษี ตรวจสอบภายใน เขียนแผนธุรกิจ การตลาด สื่อโฆษณา การเงิน แรงงาน กฎหมาย ด้วยทีมงานที่มีประสบการณ์พร้อมด้วยบริการอย่างมีประสิทธิภาพ ราคาเป็นธรรมและซื่อสัตย์ตรงไปตรงมา
จดทะเบียนท่องเที่ยวภาคกลาง
จดทะเบียนท่องเที่ยวนครสวรรค์ : จดทะเบียนท่องเที่ยวอุทัยธานี : จดทะเบียนท่องเที่ยวอ่างทอง : จดทะเบียนท่องเที่ยวสระบุรี : จดทะเบียนท่องเที่ยวสุพรรณบุรี : จดทะเบียนท่องเที่ยวสุโขทัย : จดทะเบียนท่องเที่ยวสิงห์บุรี : จดทะเบียนท่องเที่ยวสมุทรสาคร : จดทะเบียนท่องเที่ยวสมุทรสงคราม : จดทะเบียนท่องเที่ยวสมุทรปราการ : จดทะเบียนท่องเที่ยวลพบุรี : จดทะเบียนท่องเที่ยวเพชรบูรณ์ : จดทะเบียนท่องเที่ยวพิษณุโลก : จดทะเบียนท่องเที่ยวพิจิตร : จดทะเบียนท่องเที่ยวพระนครศรีอยุธยา : จดทะเบียนท่องเที่ยวปทุมธานี : จดทะเบียนท่องเที่ยวนนทบุรี : จดทะเบียนท่องเที่ยวนครปฐม : จดทะเบียนท่องเที่ยวนครนายก : จดทะเบียนท่องเที่ยวชัยนาท : จดทะเบียนท่องเที่ยวกำแพงเพชร
จดทะเบียนท่องเที่ยวภาคใต้
จดทะเบียนท่องเที่ยวยะลา : จดทะเบียนท่องเที่ยวสุราษฎร์ธานี : จดทะเบียนท่องเที่ยวสงขลา : จดทะเบียนท่องเที่ยวสตูล : จดทะเบียนท่องเที่ยวระนอง : จดทะเบียนท่องเที่ยวภูเก็ต : จดทะเบียนท่องเที่ยวพัทลุง : จดทะเบียนท่องเที่ยวพังงา : จดทะเบียนท่องเที่ยวปัตตานี : จดทะเบียนท่องเที่ยวนราธิวาส : จดทะเบียนท่องเที่ยวนครศรีธรรมราช : จดทะเบียนท่องเที่ยวตรัง : จดทะเบียนท่องเที่ยวชุมพร : จดทะเบียนท่องเที่ยวกระบี่
จดทะเบียนท่องเที่ยวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
จดทะเบียนท่องเที่ยวอำนาจเจริญ : จดทะเบียนท่องเที่ยวอุบลราชธานี : จดทะเบียนท่องเที่ยวหนองบัวลำภู : จดทะเบียนท่องเที่ยวหนองคาย : จดทะเบียนท่องเที่ยวศรีสะเกษ : จดทะเบียนท่องเที่ยวสุรินทร์ : จดทะเบียนท่องเที่ยวสกลนคร : จดทะเบียนท่องเที่ยวเลย : จดทะเบียนท่องเที่ยวร้อยเอ็ด : จดทะเบียนท่องเที่ยวยโสธร : จดทะเบียนท่องเที่ยวมุกดาหาร : จดทะเบียนท่องเที่ยวมหาสารคาม : จดทะเบียนท่องเที่ยวบุรีรัมย์ : จดทะเบียนท่องเที่ยวบึงกาฬ : จดทะเบียนท่องเที่ยวนครราชสีมา : จดทะเบียนท่องเที่ยวนครพนม : จดทะเบียนท่องเที่ยวชัยภูมิ : จดทะเบียนท่องเที่ยวขอนแก่น : จดทะเบียนท่องเที่ยวกาฬสินธุ์ : จดทะเบียนท่องเที่ยวอุดรธานี
จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยว 50 เขต ในกรุงเทพฯ
จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางบอน : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวทุ่งครุ : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวทวีวัฒนา : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางนา : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวคลองสามวา : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยววังทองหลาง : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวสะพานสูง : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวคันนายาว : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวสายไหม : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวหลักสี่ : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางแค : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยววัฒนา : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวลาดพร้าว : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวราชเทวี : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวดอนเมือง : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวจอมทอง : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวสวนหลวง : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวคลองเตย : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวประเวศ : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางคอแหลม : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวจตุจักร : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางซื่อ : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวสาทร : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบึงกุ่ม : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวดินแดง : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางพลัด : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวราษฎร์บูรณะ : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวหนองแขม : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวภาษีเจริญ : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางขุนเทียน : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางกอกน้อย : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวตลิ่งชัน : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวคลองสาน : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวห้วยขวาง : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางกอกใหญ่ : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวธนบุรี : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวพญาไท : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวสัมพันธวงศ์ : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวยานนาวา : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวลาดกระบัง : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวมีนบุรี : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวพระโขนง : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวป้อมปราบศัตรูพ่าย : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวปทุมวัน : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางกะปิ : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางเขน : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางรัก : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวหนองจอก : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวดุสิต : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวพระนคร