เพิ่มเพื่อนในไลน์ สำหรับติดต่อจดทะเบียนบริษัท ติดต่อจดทะเบียนบริษัท ผ่านเฟซบุ๊ค เพิ่มเพื่อนในไลน์ สำหรับติดต่อจดทะเบียนบริษัท ติดต่อทำบัญชี ผ่านไลน์
 

ทำธุรกรรมการเงินผ่าน Smartphone อย่างไรให้ปลอดภัย

ปฎิเสธไม่ได้ว่าปัจจุบันเทคโนโลยีก้าวเร็วมาก และถูกย่อส่วนให้เราเลือกใช้ประโยชน์ได้โดยง่าย ในมือของเราเท่านั้นเอง แม้แต่การทำธุรกรรมทางการเงิน
เราก็สามารถใช้งานได้ผ่าน Smartphone ทางธนาคารเองก็มีรูปแบบการให้บริการใหม่ ๆ ให้เราได้เลือกใช้โดยไม่ต้องเข้าแถวต่อคิวรอใช้บริการ
แต่ผู้ใช้บริการอย่างเราๆ ก็ควรจะคำนึงถึงความปลอดภัยของข้อมูล เพื่อป้องกันการโจรกรรมด้วยตนเองด้วยทางหนึ่ง

วันนี้ทีมงานชลธี มีวิธีง่ายๆ ที่เราจะสามารถใช้บริการธุรกรรมทางการเงิน บนสมาร์ทโฟน ได้อย่างปลอดภัยมาฝากกัน

1.ดูแลโทรศัพท์มือถือของเราอย่างใกล้ชิด ผู้ใช้งานต้องพึงระลึกเสมอว่าความเสียหายจะเกิดขึ้น เมื่อโทรศัพท์มือถือของเราสูญหาย
ยิ่งเราเก็บข้อมูลสำคัญไว้ในเครื่องมากเท่าไหร่ ยิ่งมีปัญหาตามมามากเท่านั้น ยังไม่รวมข้อมูลอื่น ที่เกี่ยวข้องกับองค์กร เช่น อีเมล์
ซึ่งส่งผลโดยตรงกับองค์กรโดยตรง ดังนั้นผู้ใช้งานจึงต้องระมัดระวังข้อนี้มากเป็นพิเศษ

2.ตั้งค่าล็อคโทรศัพท์เคลื่อนที่เมื่อไม่ใช้งาน แม้ว่าการล็อคการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่จะไม่ได้เป็นการป้องกันการเข้าถึงข้อมูล ที่ได้ผลร้อยเปอร์เซ็นต์
แต่ก็สามารถเป็นแนวทางเบื้องต้น ในการป้องกันจากผู้ไม่หวังดี ซึ่งอาจเกิดจากการผู้ขโมย และเป็นแนวทางที่ผู้ใช้งาน สามารถทำได้ง่าย วิธีการดังกล่าว
สามารถทำได้ ด้วยการตั้งค่า PIN หรือรหัสผ่านบนโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่นั้นๆ
3.สำรองข้อมูลไว้ในที่ปลอดภัย การสำรองข้อมูล ถือเป็นเรื่องที่สำคัญที่สุด ที่เราควรทำอย่างสม่ำเสมอ เนื่องจากเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน โทรศัพท์เคลื่อนที่หาย
ชำรุด หรือไม่สามารถใช้งานได้ ปัญหาแรกที่ตามมานอกจากการทำให้โทรศัพท์กลับมาใช้งานได้ คือการเข้าถึงข้อมูลบนโทรศัพท์ เช่น ข้อมูลผู้ติดต่อ
(Contact Book) ซึ่งข้อดีของการสำรองข้อมูล คือนอกจากมีข้อมูลที่สามารถใช้งานได้ เมื่อเกิดกรณีฉุกเฉินแล้ว ยังทำให้เรารู้ขอบเขตของข้อมูลที่หายไปด้วย
เพราะบางคน เก็บข้อมูลเลขที่บัญชีธนาคาร รหัสผ่าน ของธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ไว้ (e – Transaction) ทำให้เราสามารถระงับการใช้งานได้ทันที ก่อนที่
จะเกิดความเสียหาย โดยกระบวนการสำรองข้อมูล มีความต่างกันออกไป เราสามารถตรวจสอบได้จาก เว็บไซต์ผู้ผลิตโทรศัพท์ หรือสอบถามศูนย์บริการที่ซื้อมา
4.เก็บข้อมูลที่จำเป็น การเก็บข้อมูลใด ลงโทรศัพท์เคลื่อนที่ เราควรพิจารณาถึงความสำคัญ และความเหมาะสมของข้อมูลที่จะจัดเก็บ ไม่ควรเก็บข้อมูลที่มีความสำคัญมากๆ
เช่น ข้อมูลบัตรเครดิต หรือรหัสผ่าน รหัสล็อกอินเข้าใช้งาน เพราะหากโทรศัพท์สูญหาย ข้อมูลต่างๆ จะถูกนำไปใช้งานได้เป็นอย่างดี แต่ปัจจุบันผู้ให้พัฒนาโปรแกรม
ได้มีการพัฒนาระบบปฎิบัติการบนโทรศัพท์เคลื่อนที่่ ให้สามารถจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ได้เป็นส่วนตัวมากขึ้น เราสามารถนำข้อดีเหล่านั้น มาปรับใช้กับโทรศัพท์เคลื่อนที่
ที่เราใช้งานอยู่ และเลือกเก็บข้อมูลสำคัญได้
5. ปิดโหมดการเชื่อมต่อบลูทูธ หรือเชื่อมต่อจากแหล่งที่มาที่ไม่รู้จัก ปัจจุบันมี
 
 
 

 

บทความน่าสนใจ
» การบริหารงานโดยใช้เทคโนโลยี
» การนำเทคโนโลยีมาใช้ในแต่ละอาชีพ
» ใช้สมาร์ทโฟนทำธุรกรรมการเงินอย่างไรดี
» คิดอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
» 9 พฤติกรรมเพิ่มทักษะการเงิน
» อ่านงบการเงินง่ายนิดเดียว
» เรื่องน่ารู้ กับการส่งงบการเงิน
 

ID Line = cbg9

Line@ : @chonlatee กลับขึ้นบน
กระทรวงพาณิชย์ กรมสรรพากร กระทรวงการคลัง กระทรวงแรงงาน สถาบันคุ้มครองผู้บริโภค กรมศุลกากร
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ฐาณข้อมูลหน่วยงานของรัฐ สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) เขตการค้าเสรีหมายถึงอะไร สำนักงานทะเบียนธุรกิจนำเที่ยว กรมทรัพย์สินทางปัญญา
Copyright © 2010 Chonlatee Business Group Co.,Ltd. | Developed by บริษัท ชลธี บิสซิเนส กรุ๊ป จำกัด  
44/14 ซอยนิมิตใหม่ 12 แขวงทรายกองดิน เขตคลองสามวา กรุงเทพฯ 10510 Mobile: 083-622-5555,095 793-7000, 094-491 4333 Tel: 02-914 7962-4
อีเมล์ info@chonlatee.com
StatsCrop